10 Step เทพ :Planned Maintenance !!

อ้าวCoach ถ้าผมสอนให้ Operator ซ่อมเองได้หมด ผมก็ตกงานสิ  คำพูดของ หัวหน้าช่างซ่อมบำรุง คำพูดนี้เกิดจากที่ผมไปความรู้เรื่อง AM กับ PM สัมผัสกันยังไง ผมเองก็อยากจะบอกว่ามันไม่ง่ายนะครับที่จะสอน Operator ให้สามารถทำงานแค่ช่างซ่อมบำรุงได้ มันเริ่มจากการกำจัดสภาพเสื่อมสภาพและต้องลดความผันแปร ปัจจัย 5 ข้อ การดำเนินการ ดูแลเงื่อนไข (Autonomous maintenance) การรักษาเงื่อไขที่ใช้ ฟื้นฟูเครื่องจักร Kaizen จุดอ่อนของเครื่องจักร เพิ่มทักษะและยกระดับ การซ่อมบำรุง แต่มันก็เป็นได้และพิสูจน์มาแล้วมากมายกับโรงงานที่ดำเนินกงาน TPM ตามฉบับ JIPM ความสำคัญของ PM ที่หัวหน้าช่างซ่อมบำรุงกล่าวมา มันแค่ Step 1 ยังมีอีก 9 Step ที่คุณต้องทำให้ได้  หากคุณทำได้ตามขั้นตอนเครื่องจักรคุณ มุ่งสู่ Zero Breakdown แน่นอน 10 Step เทพ :Planned Maintenance  1. สนับสนุนกิจกรรม … Continue reading 10 Step เทพ :Planned Maintenance !!

Posted in UncategorizedTagged

การรดำเนินการและบริหาร Overall Equipment Efficiency (OEE) แบบง่ายๆ

ตัวชี้วัดที่เรียกว่า Overall Equipment Efficiency (OEE) ตามหลักการของ JIPM แบ่งความสูญเสียหรือ Losses ทั้งหมด 16 ความสูญเสียเป็นหลัก ประเด็นไม่ใช่ตัวเลข แต่สิ่งที่ต้องเน้น คือ การหาความสูญเสียขององค์กรคุณให้ได้ !!!  (คุณต้องหาเอง) และกำจัดมันอย่างเป็นระบบ ทำไมผมถึงมาพูดเรื่องนี้นะเหรอ เพราะมีเพื่อนร่วมงานผมมาถามผมว่า " OEE คืออะไรและทำไม Small Group Activity ต้องรู้และร่วมทำ " ผมเองก็งงกับคำถามตอนแรกๆ  จากนั้นผมเลยไป Gamba หน้างาน พร้อมดูระบบการจัดการ OEE ของเค้าก็สามารถสรุปคร่าวได้ดังนี้ การคำนวณ OEE คิดแบบรวมทั้งหมด ไม่แยกไลน์การผลิตหรือสินค้า การแก้ไขปัญหา ไม่มีการแบบ Rank หรือผู้รับผิดชอบ นำปัญหามาทำ Pareto graph แล้วให้ Small Group Activity หรือ SGA นำไปแก้ไขเอง (TOP … Continue reading การรดำเนินการและบริหาร Overall Equipment Efficiency (OEE) แบบง่ายๆ

Posted in UncategorizedTagged

Autonomous maintenance ???

องค์กรหลายที่ไม่เข้าใจและไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคคลากร สนใจแต่สินค้าที่ผลิตออกมาแล้วเอาไปขาย ผมตั้งคำถาม 3 ข้อนี้ ลองพิจารณาให้ผมหน่อยว่า " เราควรพัฒนาพนักงานหรือไม่ " - พนักงานทำงานกับเครื่องจักร ราคาเครื่องจักรเท่าไร ? - พนักงานหรือเจ้าของ(ผู้จัดการ) ใครกันแน่ที่ผลิตสินค้า ? - คุณภาพของสินค้า ตรวจสอบโดยพนักงานหรือไม่ ? หากคำตอบเป็น พนักงานทั้งหมด คุณมาถูกทางล่ะครับ ไม่ว่าจะขั้นตอนไหนก็ต้องมีคนปฎิบัติงานหรือควบคุมดูแล หรือใช้หุ่นยนต์ก็ต้องมีคนคอยซ่อมบำรุง เพราะเครื่องจักรยังบำรุงรักษาตัวเองไม่ได้ !! ในยุคที่การแข่งขันสูงเช่นนี้  องค์กรต้องพัฒนาอย่างยั่งยืน   AM เป็นอีกทางเลือกที่ตอบโจทย์ได้อย่างดี เพราะ TPM สร้างมาเพื่อเป็นโปรแกรมพัฒนาบุลคคากร ให้สามารถดูแลรักษาเครื่องจักรได้ด้วยตัวเองหรือทำหน้าที่แทนช่างซ่อมบำรุงได้บางส่วน (30 : 70) ผลพลอยได้ที่ตามมายิ่งน่าตกใจ คือ Operator จะมีความสามารถเพิ่มท้้งหมด 7 อย่าง พฤติกรรมไคเซ็น - ความสามารถวิเคราะห์สาเหตุ - ความสามารถทำไคเซ็น - ความสามารถกำหนดเงื่อนไข   พฤติกรรมควบคุมรักษา … Continue reading Autonomous maintenance ???

Posted in UncategorizedTagged

แนวคิดพื้นฐานของ Zero failure

มนุษย์นั้นทำให้เครื่องจักรเกิด failure หากเปลี่ยนความคิดหรือพฤติกรรมคนได้ เครื่องจักรก็จะสามารถเป็น Zero Breakdown ได้ จากความคิดที่ว่า “ เครื่องจักรนั้นต้องเสีย ” ให้เปลี่ยนเป็นความคิดที่ว่า “ ไม่ทำให้เครื่องจักรเสีย ” หรือ  “เครืองเสียต้องลดลงเป็นศูนย์ ” แนวคิดนี้เป็นแนวความคิดของคนญี่ปุ่นนะครับ หากผมเป็นผู้จัดการโรงงาน ที่มีเครื่องจักรเป็นฐานการผลิตหลัก ผมจะการวางระบบ Planned Maintenance ตามระบบ #TPM เพราะเราต้องเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรเพื่อดำเนินการผลิตตลอด เริ่มต้นสิ่งที่ต้องทำ : ด้วยการลดความผันแปรของการเสื่อมสภาพ ปัจจัย 5 ข้อนี้ก่อน  การดำเนินการและดูแลเงื่อนไข (Autonomous maintenance) - PM แบ่งความความรับผิดชอบให้ส่วนงานผลิต AM(พนักงานไลน์การผลิต) แล้วแต่ละโรงงานนั้นๆ จะต้องเตรียม ให้ความรู้และข้อมูลไปสอนพนักงาน AM แนะนำ AM:PM = 30% : 70%  ก่อนจะส่งมอบ PM ต้องสอน AM (จะใช้กิจกรรม … Continue reading แนวคิดพื้นฐานของ Zero failure

Posted in UncategorizedTagged