Quality Maintenance Concept

ปัญหาคุณภาพเป็นเรื่องที่สำคัญขอธุรกิจหากเกิดขึ้นส่งผลต่อองค์กรโดนตรงและไม่มีใครอยากให้เกิดกับธุรกิจตัวเองแต่โลกของความเป็นจริง ปัญหาคุณภาพเกิดขึ้นทุกวัน ปัญหาด้านคุณภาพจะส่งผลกระทบมากหรือน้อยเท่านั้น

และปัญหาด้านคุณภาพมีหลายมิติ เอาเองต้องแยกแยะให้ออกว่าสาเหตุของปัญหาเป็นอะไรบ้าง  เพราะมุมมองของ TPM มุ่งเน้น Quality Complaint เป็นหลัก  และมีตัวชี้วัดดังนี้

KPI

  • Quality complaint
  • จำนวน In line Defect

KAI

  • No. of Zero Defect case
  • No. of Zero Defect Line

ซึ่งในแนวคิด TPM มี Pillar QM ที่ใช้สำหรับการแก้ไขปัญหาคุณภาพให้เป็นศูนย์ โดยเฉพาะแนวคิดที่มุ่งเน้นที่กระบวนการและเครื่องจักร

” เน้นการผลิตยังไงเพื่อให้ได้ของดีเท่านั้น ( Process Control )”

Quality Maintenance –>การควบคุมที่ปัจจัยหรือจุดที่ทำให้เกิดปัญหา และป้องกันไม่ให้เกิดของเสียโดยการรักษาเงื่อนไขเหล่านั้นให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เน้น Processing point หรือจุดแปรรูป เช่น จุดที่ตัดหรือพับชิ้นงานที่มีการแปรรูปชิ้น เปลี่ยนอีกอย่างเป็นอีกอย่าง

เราต้องสร้างระบบ Zero Defect ในเครื่องจักร โดยมุ่งเน้น “ตรวจเช็ค” (Check-tenken) :  วัดแนวโน้มการเสื่อมภาพของเครื่องจักร โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งจะสัมผัสกับการทำ Autonomous maintenance

และปัจจัยที่ทำให้เกิดของเสีย คือ การสึกหรอ เสื่อมสภาพของเครื่องจักร (Machine tools) –> ยูนิต (เพลาหลัก –>ชิ้นส่วน (รองเพลา) –>ชิ้นส่วนย่อย (ด้านที่หมุนวน) เป็นต้น

ดังนั้น แนวคิด Quality Maintenance

  • ทำให้มี equipment conditions ที่ stable ปราศจากการเสื่อมสภาพแบบเร่ง มีแต่การเสื่อมตามธรรมชาติปกติ
  • ผู้จัดการและ operator มีทักษะในการ operate ที่เพียงพอ และเข้าใจหลักการพื้นฐานของ equipment / process และเทคนิคในการตรวจเช็ค

ซึ่ง QM เป็นมีการทำด้วยกัน 2 แบบ

1. QM 10 Step : เหมาะสมกับโรงงานการผลิตที่เป็น Process Line

QM 10 Step

QA Matrix : ตารางความสัมผัสระหว่างจุดที่เกิดปัญหา (เครื่องจักรหรือไลน์ )กับลักษณะของปัญหาคุณภาพ (ลักษณะของเสียเป็นแบบไหน)
QM Matrix : คือ QA Matrix ที่มีเกณฑ์มาตรฐานการตรวจเช็ค

2. QM 7 Step : The figure of eight method for Quality-Hozen

The figure of eight method for Quality Hozen

การดำเนินกิจกรรมปรับปรุงที่เรียกว่า Defect Kaizen (FI) เป็นแค่ก้าวแรกของการกำจัดปัญหาด้านคุณภาพแต่สิ่งกิจกรรม QM นั้นต่างกันตรงที่ QM ต้องกำหนดเงื่อนไขและให้เป็นศูนย์เรื่อยๆ (แบบตลอดกาล)

ท้ายที่สุดทุกโรงงานที่ดำเนินการทำ TPM : Pillar QM สามารถคิดและออกแบบเอกได้ แต่ต้องตอบโจทย์ตามปรัชญา Quality Maintenance

– การกำหนดเงื่อนไข
– วิธีการควบคุมเงื่อนไข

29927

** อย่าเปิดศึกหลายด้านลองทำเป็น Model แห่งความสำเร็จก่อนนะครับ

 

#วิศวกรเค้นประสิทธิภาพ

#TPMInstructor

Posted in UncategorizedTagged