Autonomous Maintenance Step 3 : Establish autonomous maintenance Tentative Standards

               จากการทำ AM Step 2 อย่างจริงจังจะพบว่าการ Kaizen ของ Small group นั้นสามารถช่วยให้เครื่องจักรลดอาการ Breakdown , Minor step และ Defect ได้จริง แต่ที่สำคัญกว่านั้นคุณได้ยกระดับพนักงานของคุณไปแล้วผ่านการทำ AM Step 1 และ 2  หากคุณไม่เชื่อลองเข้าไป Meeting ร่วมกับ Small group ที่บริเวณที่ตั้ง Activity Board  คุณจะเห็นบรรยากาศที่มุ่งมั่นเพิ่มมาขึ้น มีการบอกปัญหาและการแชร์ความรู้การปรับปรุงหรือแก้ไขต่างๆ ผ่านเอกสารชื่อ One point lesson หรือ OPL (วงเล็บนะครับ ถ้าคุณลงมือทำจริง จะเห็นภาพอย่างนี้แน่นอน)             … Continue reading Autonomous Maintenance Step 3 : Establish autonomous maintenance Tentative Standards

Posted in UncategorizedTagged

Autonomous Maintenance Step 2 : Countermeasure for contamination sources and hard-to-access areas

                หลังจากผ่านการทำความสะอาดแบบ Deep Cleaning อย่างบ้าคลั่งกับการทำ Autonomous Maintenance Step 1 : Initial Cleaning (Cleaning and Inspection) เราเองจะได้ Tag เป็นจำนวนมากจากการค้นหาความบกพร่องตามหลัการ 7Abnormal  โดยหลักการฟื้นฟูสภาพให้กับเครื่องจักรเป็นคืนสภาพสู่ Basic Condition หรือ ทำการบำรุงรักษาขั้นพื้นฐาน (ทำความสะอาด หล่อลื่น ขันแน่น ) เป็นพื้นฐานการทำ TPM อย่างแท้จริง                    Autonomous Maintenance Step 2 มีวัตถุประสงค์หลัก คือ Eliminate source … Continue reading Autonomous Maintenance Step 2 : Countermeasure for contamination sources and hard-to-access areas

Posted in UncategorizedTagged

Autonomous Maintenance Step 1 : Initial Cleaning (Cleaning and Inspection)

            หลังจากที่รู้และดำเนินการ Autonomous Maintenance Zero Step ไปแล้ว เราก็มีความพร้อมสำหรับก่อนเริ่ม AM Step 1  เราทุกคนก็จะทราบแล้วว่าเราทำกิจกรรม Autonomous Maintenance ทำ เพื่ออะไรและใครได้ ประโยชน์จากการดำเนินการบ้าง       ด้วยเหตุนี้เองการทำ Zero Step จึงจำเป็นต่อคนไทย เพราะวัตถุประสงค์ของ Autonomous maintenance ที่แท้จริง คือ เพื่อยกระดับความสามารถด้านการบำรุงรักษาเครื่องจักรให้กับผู้ควบคุมเครื่องจักร , ด้านการควบคุมสายการผลิต รวมถึงด้านการปรับปรุงและควบคุมเงื่อนไขให้กับผู้ควบคุมเครื่องจักร โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะกำจัดความสูญเสียให้หมด ก่อนจะเริ่มเราต้องมารู้จักก่อรว่ามีพฤติกรรมที่นำไปสู่เครื่องจักรขัดข้องซึ่งจะมี 3 ข้อตามไฮไลท์สีแดง ซึ่งสามารรแก้ไขได้ถ้าดำเนินการ AM Step 1-3 จะสามารถลดปัญหาเครื่องขัดข้องแน่นอน ซึ่งจะมีดังต่อไปนี้ ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขพื้นฐาน ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการใช้งาน เมื่อขัดข้อง แล้วแก้ไขเฉพาะจุดนั้น ไม่พิจารณาจุดอื่นๆ ออกแบบมาไม่เหมาะสมกับสภาพการใช้งานจริง ไม่มีทักษะในการใช้งานและบำรุงรักษาเครื่องจักร … Continue reading Autonomous Maintenance Step 1 : Initial Cleaning (Cleaning and Inspection)

Posted in UncategorizedTagged

7Abnormal With AM Step 1: Initial cleaning (Cleaning is inspection)

ก่อนจะเริ่ม AM Step 1 ผมมีประเด็นการติด Tag ยังคงเป็นประเด็นง่าย แต่เข้าใจผิดกันเยอะ ซึ่งผมขอได้อธิบายไปตามหลัก TPM (#TPMInstructor ) ดังนี้ Tag มีวัตถุประสงค์ สำหรับระบุจุดบกพร่องของเครื่องจักร และยังบ่งบอกถึงผู้รับผิดชอบในการแก้ไขและปรับปรุงอีกด้วย ปัจจุปัน #TPM มีการนำ Tag ไปใช้อยู่ 3 สี และแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ---------------------------------------------------------------------------------- #Red Tag คือ กลุ่มของตนเองไม่สามารถแก้ไขไม่ได้ ต้องให้หน่วยงานอื่นช่วย ( หน่วยงานซ่อมบำรุง) #White Tag คือ จุดบกพร่องที่กลุ่มสามารถแก้ไขเองได้ #Yellow Tag คือ ใช้สำหรับค้นหาจุดอันตราย (แก้ไขด้วยตัวเองหรือหน่วยงานซ่อมบำรุงก็ได้) --------------------------------------------------------------------------------- เนื้อหาของความบกพร่องที่ต้องติด Tag มีตัวอย่าง มาจากความผิดปกติ 7 ประเภท หรือ #7Abnormal ซึ่งนิยมกันอย่างมาก ยิ่งหาจุดบกพร่องได้เยอะเท่าไร ก็จะแก้ไขและปรับปรุงได้ดีขึ้น 1.ข้อบกพร่องเล็กน้อย (Minor Flaws): สิ่งเปรอะเปื้อน, ชำรุด, การทำงานของเครื่องจักร, … Continue reading 7Abnormal With AM Step 1: Initial cleaning (Cleaning is inspection)

Posted in UncategorizedTagged