ข้อดีของการทำ Basic condition เท่ากับการลดต้นทุน

เรื่องนี้เริ่มจากวิกฤต COVID-19 เมื่อคุณไม่สามารถลงทุนอะไรใหม่ๆได้ในช่วงนี้ ทางเลือกก็มีไม่มาก แต่ต้องลดต้นทุนให้ได้ TPM เป็นเครื่องมือบริหารที่ลักษณะเด่น คือการทำ Autonomous Maintenance เพื่อเปลี่ยน mind set ของผู้ปฎิบัติงาน แนวคิดการบำรุงรักษาด้วยตนเอง เริ่มจากการที่มีการปรับปรุงตลอดมา และความซับซ้อนในงานซ่อมบำรุงที่หลากหลายส่งผลให้เกิดการแบ่งฝ่ายผลิต และฝ่ายซ่อมบำรุงอย่างชัดเจน ทำให้ประสิทธิภาพของการอำนวยความสะดวกลดลงอย่างมาก Jishu-Hozen หรือการบำรุงรักษาด้วยตนเองจะสามารถปรับปรุงสิ่งเหล่านี้ได้ โดยมีแนวคิดดังต่อไปนี้ แนวคิดขั้นต้น ของเสียเป็นศูนย์และเครื่องจักรขัดข้องเป็นศูนย์จะเป็นจริงได้ถ้าทุกคนที่เกี่ยวข้องปรับแนวความคิดและปฏิบัติเสียใหม่เมื่อเครื่องจักรดีขึ้นคนก็จะดีขึ้น ถ้าคนดีขึ้นบรรยากาศการทำงานก็จะดีขึ้นตามลำดับภายใต้ภาวะผู้นำของฝ่ายจัดการทุก ๆ คน จะต้องมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาที่แท้จริงที่มีอยู่ตามขั้นตอนที่ถูกกำหนดขึ้น ดังนั้นการเรียนรู้เครื่องจักร ( Know my machine ) ชิ้นส่วนต่างๆ ทำหน้าที่อะไร หากไม่สามารถทำงานได้จะเกิดอะไร  สภาพที่ควรจะเป็นเป็นอย่างไร และข้อควรระวังมีอะไรบ้าง โดยความรู้เล่านี้จะได้มาทีมงานวิศวกรของโรงงาน เพราะ “ ก่อนจะปรังปรุงอะไรให้คืนสภาพเงื่อนไขพื้นฐานก่อน ” หรือ Basic condition  หากพูดให้เข้าใจกันภาษาชาวบ้านนั้นก็ คือ การทำให้เครื่องจักรใหม่เหมือนตอนพึ่งซื้อมาครั้งแรก หรือตามสภาพกาลเวลานั้นๆ ซึ่งข้อดีของการคืนสภาพนั้นจะเหมือนการตรวจสอบความสมบูรณ์ทุกชิ้นส่วนของเครื่องจักร เพื่อให้แน่ใจว่าเครื่องจักรพร้อมใช้หรือไม่ จาก Case … Continue reading ข้อดีของการทำ Basic condition เท่ากับการลดต้นทุน

ป้องกันดีกว่าซ่อม กลยุทธ์การทำงานแบบ TPM

วันๆ มีแต่เครื่องเสีย ต้องซ่อมกัน ??? วันๆ มีแต่สินค้าเสีย ต้องซ้อมงาน ??? ทำงานแบบนี้วนไปเรื่อยๆ จนเป็นวัฒนธรรม จนเป็นตำนานและทำกันงานตามกันจนเป็นนิสัย  เรื่องนี้เป็นเรื่องปกติของการทำงาน ผมเองได้เข้าไปช่วยสร้างกิจกรรมเพิ่มผลผลิตหลายโรงงาน สิ่งที่ผมพบคือ เจอโรงงานรับสภาพและโรงงานที่ต้องการยกระดับของโรงงาน สมัยก่อนที่ผมอยู่โรงงาน คนไหนที่ซ่อมเครื่องจักรได้จะได้รับยอมรับว่าทำงานเก่งและดี และถือเป็นกำลังสำคัญในที่ให้การผลิตขับเคลื่อนไปข้างหน้า ซึ่งระหว่างที่ทำงานไปได้นั้นโรงงานมีแต่ระบบมาตรฐานสากลต่างๆ เช่น ISO 9001 ,OHSAS 18001 เป็นต้น ก็แต่ทำตามข้อกำหนดไปวันๆ เป็นเดือน และปี จุดเปลี่ยนการทำงานของเริ่มต้นจากที่โรงงานนำระบบการบริหาร TPM เข้ามาใช้ในโรงงานโดยเริ่มจาก Focus improvement ซึ่งเป็นการใช้ OEE ตามมาด้วย Manager model ของ Autonomous maintenance สุดท้ายคือการ Support ของ Planned maintenance ระยะการดำเนินการประเมิน 1 ปี ในระหว่างนั้นโรงงานก็เพิ่มการผลิตขึ้นเรื่อยๆ เครื่องจักรก็เสียเพิ่มมากขึ้นแต่คนซ่อมเท่าเดิม  ความซวยเกิดขึ้นทันตาเห็นจากที่คนซ่อมเก่ง ซ่อมทันกลับกายเป็นคำตำหนิ “ ซ่อมยังไงให้เสียซ้ำ … Continue reading ป้องกันดีกว่าซ่อม กลยุทธ์การทำงานแบบ TPM

Posted in UncategorizedTagged

สร้างกลยุทธ์การบริหารการบำรุงรักษาเครื่องจักร (Maintenance Management Strategy)

เครื่องจักรโรงงานมีกี่เครื่อง  ?? พนักงานแผนกซ่อมบำรุงมีกี่คน ?? . ปัญหาของหลายโรงงานเจอคือ คนไม่พอกับการดูแลเครื่องจักร และหากคุณต้องการเอาชนะความเหนื่อยครั้งนี้ ต้องสร้างกลยุทธ์การบริหารการบำรุงรักษาเครื่องจักร (Maintenance Management) โดยกลยุทธ์ Planned Maintenance จะดำเนินการ 2 ส่วนหลักๆ Reliability Maintenance : ความน่าเชื่อถือ คือ โอกาสที่อุปกรณ์นั้นสามารถทำงานได้โดยไม่เสียในระยะเวลาที่กำหนด ภายใต้สภาพเงื่อนไขที่กำหนด - Autonomous Maintenance ส่วนงาน PM จะดำเนินการ Support ในการปลด Rad tag - Breakdown Maintenance  เป็นการซ่อมเมื่อเครื่องจักรเสีย ที่ไม่มีการวางแผนล่วงหน้าและมักจะทำให้ค่าใช้จ่ายสูง รองรับด้วยกิจกรรม Breakdown Report - Preventive Maintenance เริ่มจากการแบ่ง Ranking Machine เพื่อจัดลำดับการจัดเครื่องจักรและส่งผลต่อ MTBF หมายถึง Mean Time Between Failures หมายถึง ระยะเวลาเฉลี่ยก่อนการเสียหายแต่ละครั้ง - … Continue reading สร้างกลยุทธ์การบริหารการบำรุงรักษาเครื่องจักร (Maintenance Management Strategy)

Posted in UncategorizedTagged