ข้อดีของการทำ KMI , KPI , KAI  แบบ TPM

เป้าหมายภายในองค์กรมีหลายระดับ  ต่างคนต่างมีหน้าที่ของตัวเอง ตำแหน่งคุณจะบ่งบอกความรับผิดชอบ !!! สิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากการทำ TPM นั้นคือการทำ  KMI , KPI , KAI  เพื่อเชื่อมโยงกับ Pillar หรือหน่วยทำงานย่อยหรือที่เรียกว่า Hoshin Kanri คือ กลยุทธ์การวางแผนจากประเทศญี่ปุ่น เป็นการสร้างเป้าหมายแบบแผนผังเมตริกซ์ (Matrix Diagrams) แผนผังที่ประกอบด้วยข้อความในแนวตั้ง(columns) และข้อความในแนวนอน(Rows)ณ จุดที่ตัดกันนี้จะเป็นตำแหน่งที่ใช้พิจารณาข้อความที่เป็นแนวคิดสำคัญสำหรับการแก้ปัญหา ทั้งนี้ข้อดีของแผนผังแมทริกซ์ ยังช่วยให้เราสามารถนำข้อมูลจากความคิดเห็นที่มีฐานจากประสบการณ์ ออกมาใช้ งานได้อย่างรวดเร็วและเต็มที่ สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิผลมากกว่าข้อมูลที่เป็น ตัวเลขเสียอีกทำให้ความสัมพันธ์กันในกลุ่มที่มีสถานการณ์แตกต่างกันกระจ่าง ชัดเจนขึ้น ซึ่งทำให้ปัญหาโดยรวมปรากฏชัดขึ้นมาทันทีแผนผังนี้ช่วยกำหนดตำแหน่งของปัญหาได้อย่างชัดเจน การตั้งเป้าหมายต้องสามารถทำได้จริง มีที่มาที่ไป มีเหตุและผล ไม่ใช่ทำไปทุกเรื่องหรือทำแบบไม่มีการวิเคราะห์อะไรเลย อยากทำอะไรก็ทำ ซึ่ง Target Deployment หรือการกระจายนโนบายไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งการบริหารงานแบบ TPM นั้นแบ่งเป้าหมายเป็น 3 ระดับ ซึ่งมีดัชนีชี้วัดต่างกัน KMI = Key Management Index คือ ดัชนีชี้วัดความสำเร็จระดับสูง … Continue reading ข้อดีของการทำ KMI , KPI , KAI  แบบ TPM

Posted in UncategorizedTagged